ลิฟท์ที่ใช้งานมานาน… หยุดทำงานบ่อย…ซ่อมบ่อย เป็นสัญญานว่าลิฟท์ถึงเวลาที่ต้องได้รับการปรับปรุงระบบได้แล้ว แต่หนึ่งอุปสรรคของการปรับปรุงก็คือ อุปกรณ์ลิฟท์ที่ใช้อยู่นั้นล้าสมัย ตกรุ่น ไม่สามารถหามาเปลี่ยนได้…
ประโยชน์ที่ได้จากการอัพเกรดอุปกรณ์ลิฟท์ และ ปรับปรุงระบบลิฟท์ ให้ทันสมัย …
ลิฟท์ค้าง !
ลิฟท์วิ่งมีเสียงดัง !
ลิฟท์วิ่งกระตุก !
ลิฟท์จอดไม่เสมอชั้น !
ประตูเปิดปิดมีเสียงดัง !
ปุ่มกดใช้ไม่ได้ !
ปุ่มกดชั้นค้าง !
ปุมกดไฟไม่ติด !
ไฟลูกศรขึ้นลงไม่ติด !
ฝนตกทีไร ลิฟท์ใช้งานไม่ได้ทุกที !
ท่านเบื่อปัญหาเหล่านี้บ้างไหม…
ลิฟท์ มีส่วนประกอบที่มีการเคลื่อนไหวมากมายย่อมเกิดการสึกหรออย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และส่วนที่เป็นอิเลคโทรนิคซึ่งแน่นอนต้องมีการเสื่อมตามอายุใช้งาน
การตรวจเช็คลิฟท์ของเราจึงมุ่งเน้นไปที่ส่วนดังกล่าวเป็นพิเศษ เพื่อแก้ไขได้ทันท่วงที หรือเปลี่ยนอุปกรณ์ลิฟท์ดังกล่าวหากจำเป็น เพื่อให้ลิฟท์อยู่ในสถาพที่ใช้งานได้อย่างดี ปลอดภัย หมดปัญหากวนใจ…
นอกจากนี้เรายังให้บริการ ซ่อมลิฟท์ ฉุกเฉิน ตลอด 24 ชั่วโมง เฉพาะในเขตกรุงเทพและปริมณทล
เรียกใช้บริการ ซ่อมลิฟท์ จากเรา เลยครับ … รวดเร็ว …เชื่อถือได้
การบำรุงรักษาลิฟท์ อย่างสม่ำเสมอ เป็นเรื่องสำคัญ เพื่อความปลอดภัยผู้โดยสาร
ลิฟท์วิ่งชน ประตูลิฟท์
รับบำรุงรักษาลิฟท์
น้ำมันเกียร์รั่วซึม
สาเหตุจากซีล (ยางกันน้ำมันซึม) รั่ว ทำให้น้ำมันเกียร์ซึมออกมา ซึ่งทำให้ลูกปืนด้านในแตก ซึงเป็นสาเหตุสำคัญทำ
ให้เฟืองตัวหนอนเกียร์เสียหายได้ในอนาคต
บำรุงรักษาลิฟท์
…อย่ารอให้เกิดปัญหาแบบนี้ก่อน … มาบำรุงรักษาลิฟท์อย่างสม่ำเสมอ… ดีกว่า
บำรุงรักษาลิฟท์
ลิฟท์ขนของ
ตรวจเช็ค เพื่อ ซ่อม บำรุงรักษาลิฟท์ ตามมาตรฐาน Japanese Industrial Standard (JIS) / American National Standard Institute (ANSI) / European Norm (EN81)
ห้องเครื่อง เช่น
ตรวจเช็คระบบเบรคและอุปกรณ์
ตรวจเช็คพูเลย์ และสลิงลิฟท์
ตรวจเช็คชุดเซฟตี้ Governor
ทำความสะอาดอุปกรณ์ลิฟท์
ช่องลิฟท์ เช่น
ตรวจเช็คชุดประตูชานพัก ประตูนอก / ประตูใน
ตรวจเช็ค Safety Shoes, Microscan, Photocell
ตรวจเช็คน้ำมันราง ชุดข้อต่อ จุดหมุนต่างๆ
รับบำรุงรักษาลิฟท์
ก้นบ่อ เช่น
ตรวจเช็คระยะรันบาย (Run By)
ตรวจเช็ค Buffer, Counterweight และ Governor
ตรวจเช็คอุปกรณ์ภายใน Pit Lift
เรายังมีโปรแกรมบำรุงตามระยะดังนี้
การบำรุงรักษาทุกระยะ 1 เดือน เช่น …
ตรวจเช็คการทำงานของวงจรเชฟตี้ทั้งหมด
ตรวจเช็คสวิทซ์หน้าคอนแทค/กลไกของตอร์ล็อคทั้งหมด
ตรวจเช็คสวิทซ์หน้าคอนแทค ของคาร์เกท
ตรวจเช็ค ระดับชั้น การจอดเสมอระดับชั้นหรือไม่
ตรวจเช็ค การทำงาน การตอบสนอง ของชุดSafety Shoes/ไลท์เรย์
ตรวจเช็ค การทำงานของไฟแสงสว่างฉุกเฉิน/กระดิ่ง/อินเตอร์คอม/แบตเตอรี่
ตรวจเช็ค สวิทซ์หยุดฉุกเฉิน (ในตู้ลิฟท์/ตู้คอนโทรลไฟฟ้า)
ตรวจเช็ค ผ้าเบรก และระยะการทำงานของเบรกพร้อมทำเครื่องหมายทุกครั้ง
ตรวจเช็ค สัญญาณบอกชั้น ลูกศรการขึ้น-ลง และสัญญาณเสียงแจ้งเตือนต่าง ๆ
ตรวจเช็ค การทำงานของปุ่มกดหน้าชั้น สัญญาณบอกชั้นต่าง ๆ
อุณหภูมิมอเตอร์ / พัดลมระบายความร้อน
ตรวจเช็ค สภาพและการทำงานของ เทคโคเจนเนอเรเตอร์ (Tacho Generator) /สายพานเทคโค
เจนเนอเรเตอร์
ตรวจเช็ค และทดสอบการทำงานของชุด Governor
ตรวจเช็ค ระยะการทางานของเบรค/คอยส์เบรค
การบำรุงรักษาทุกระยะ 3 เดือน เช่น …
ตรวจเช็ค สภาพการทำงานของหน้าคอนแทคของคอนเทคเตอร์รีเลย์ ( Contactor Relay)
ตรวจเช็คทำความสะอาดแผงวงจรไฟฟา ขั้วแบตเตอรี่ และอุปกรณ์ต่างๆ
ตรวจเช็ค ขั้นตอนการทำงานของระบบทั้งหมด
ตรวจเช็ค ชูส์ประตู โรเลอร์ประตู ทั้งหมด
ตรวจเช็ค ทำความสะอาด ราง/รอก แขวนประตูสปริงประตู ทั้งหมด
ตรวจเช็ค ทำความสะอาดหล่อลื่น ชุดระบบ ปิด-เปิด ประตู
ตรวจเช็ค ปรับแต่ง ชุดระบบปิด-เปิด ประตู
ตรวจเช็ค หน้าคอนแทค/จุดยึดสกรู ต่าง ๆ ของประตู
ตรวจเช็ค สภาพความสึกหรอและการยืดของตัว Governor
ตรวจเช็ค และทำความสะอาดชิ้นส่วนอุปกรณ์ที่มีการเคลื่อนที่ทั้งหมดของ Governor
ตรวจเช็ค การทำงานของสวิทซ์ Governor
ตรวจเช็ค และ ปรับแต่ง Car Guide Shoes / Roller Guide Shoes
การบำรุงรักษาทุกระยะ 6 เดือน เช่น …
ตรวจเช็ค และปรับตั้งลิมิตสวิทซ์
ตรวจเช็คระดับน้ำมันของ Buffer ทั้งด้านตัวลิฟท์ และ Counterweight (ถ้ามี)
ตรวจเช็คสภาพของฉนวนที่สายเทรเวลลิ่งเคเบล
ตรวจเช็คสภาพความตึงของลวดสลิงขับลิฟท์
ตรวจเช็คความตึงขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของลวดสลิง Governor
ตรวจเช็ค ทดสอบการทำงานของชุดป้องกันมอเตอร์ และระบบป้องกันอื่น ๆ
การบำรุงรักษาทุกระยะ 12 เดือน เช่น …
ตรวจเช็คการทำงานของโอเวอรโหลดรีเลย์ (Over Load Relay)
ถอดทำความสะอาด ฟิวส์/ฐานใส่ฟิวส์/เซอร์กิตเบรกเกอร์ (Circuit breaker)
ตรวจเช็คและบันทึกระดับแรงดันไฟฟ้าภายในตู้คอนโทรลไฟฟ้าทั้งหมด
ขันตรวจสกรูของจุดต่อสายทั้งหมดภายในตู้คอนโทรลให้แน่น
ตรวจเช็ครางตัวลิฟท์/รางตุ้มน้ำหนัก
ตรวจเช็คการทำงานของชุด COP ทั้งหมด พร้อมตรวจเช็คจุดต่อสาย
ตรวจเช็คขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของลวดสลิงขับลิฟท์
ตรวจเช็คสภาพและจุดยึดของโซ่ชดเชย
ตรวจเช็ค/ทำความสะอาดรอกขับทุกตัว
ตรวจเช็คความสึกหรอของร่องรอกขับ
ตรวจเช็คความสึกหรอของเฟืองเกียร์/ตรวจเช็ครอยรั่วซึมและระดับน้ำมันเกียร์
ขันตรวจความแน่นของน๊อตยึดต่าง ๆ
ทำความสะอาด/ตรวจเช็ค ผ้าเบรก
ทดสอบการทำงานของระบบเบรกที่ Full Speed Empty Car Up
เรามีทีมงานมากประสบการณ์ และโซลูชั่นแนะนำ ที่ตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าได้อย่างมากที่สุด ในการติดตั้ง ลิฟท์โดยสาร ให้เหมาะสมกับการใช้งาน และสถานที่ ไม่ว่าจะเป็นสถานที่เชิงพาณิชย์ อาคารสำนักงาน และที่พักอาศัยทั่วไป
ระบบการทำงาน
ลิฟท์ทำงานแบบ Simplex Up and Down Selective Collective
ลักษณะตัวลิฟท์
ตัวลิฟท์ประกอบด้วยเหล็ก ภายในตัวลิฟท์มีลักษณะดังนี้
* ภายในตัวลิฟท์ สามารถออกแบบได้ตามความต้องการของลูกค้า
ระบบประตูอัตโนมัติ
ประตูลิฟต์และประตูชานพัก ปิด-เปิดพร้อมกันโดยอัตโนมัติ โดยใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ติดตั้งอยู่ส่วนบนของตัวลิฟท์ประตูชานพักจะมีสลักกลไกและคอนแทคไฟฟ้า เพื่อป้องกันลิฟท์วิ่งขณะประตูเปิดอยู่ หรือยังปิดไม่สนิท และเพื่อล็อคประตูไม่ให้เปิดออกได้ในขณะที่ลิฟท์ไม่ได้อยู่ที่ชั้น และที่ประตูจะมีคอนแทคไฟฟ้า เพื่อป้องกันลิฟต์วิ่งขณะประตูเปิดอยู่ หรือยังปิดไม่สนิท
ระบบไฟฟ้า
380 Volts / 3 Phase / 5 สาย ( นิวตรอน, กราวด์ ) / 50 HZ
220 Volts / 2 Phase / 2 สาย / 50 HZ
นอกจากรายละเอียดพื้นฐานข้างต้นแล้ว ในการติดตั้งลิฟท์โดยสาร ของ Excellent Lift ยังคำนึงถึงระบบความปลอดภัย และระบบป้องกันอุบัติเหตุที่ทันสมัยอีกด้วย
รายละเอียดบางส่วนของ ระบบความปลอดภัย และระบบป้องกันอุบัติเหตุ มีอยู่ในหน้า ปรับปรุงระบบลิฟท์ ให้ทันสมัย …
การตกแต่งลิฟท์ นิยมทำกัน 4 ส่วน แล้วแต่ความจำเป็น งบประมาณ และสอดคล้องกับแนวทางออกแบบของตัวอาคาร
1. การตกแต่งบุผนัง 3 ด้านของลิฟท์ 2. การปูพื้นลิฟท์ใหม่ด้วยกระเบื้องยาง พรม หรือวัสดุอื่นๆ 3. การตกแต่งฝ้าเพดาน 4. การตกแต่งบานประตูลิฟท์ ทั้งประตูนอกและประตูใน
นิยมทำกันใน 3 ลักษณะ คือ 1. การปูด้วยวัสดุที่ปรับเปลี่ยน เคลื่อนย้ายได้ เช่น พรม กระเบื้องยาง 2. การปูด้วยวัสดุที่ติดอยู่กับที่ ไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ง่าย เช่น หินปูพื้นหรือไม้ (ต้อง ได้รับคำแนะนำอย่างถูกต้องจากผู้ชำนาญ เนื่องจากอาจจะทำให้น้ำหนักบรรทุกของลิฟท์ได้น้อยลงหรือทำให้เซ็นเซอร์ที่ทำหน้าที่ตรวจจับการบรรทุกเกิน เสียหรือไม่ทำงาน)
ต้องคำนึงถึงความปลอดภัย เนื่องจากลิฟท์เป็นอุปกรณ์ที่มีความเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา และบางครั้งอาจจะมีการสั่นสะเทือน หรือกระตุก ฉะนั้น วัสดุที่ใช้ในการทำฝ้าเพดาน นิยมทำกันใน 2 ลักษณะ คือ
การตกแต่งบานประตูลิฟท์ ทั้งประตูนอกและประตูใน บานประตูลิฟท์ประกอบด้วย 3 ส่วนต่างๆ ที่สามารถทำการตกแต่งได้คือ
|
||||||
|
||||||
ความแตกต่างที่ท่านได้รับ : ลิฟท์เป็นอุปกรณ์โดยสารในตัวตึกที่ใช้โดยสาธารณะ จึงอยู่ภายใต้การควบคุมของ พรบ.ควบคุมอาคาร ปี พ.ศ 2543 กล่าวคือ จำเป็นต้องได้รับการตรวจสอบบำรุงรักษาตามมาตรฐานวิศวกรรมการบำรุง ผู้ละเมิดมีความผิดตามกฎหมาย หากเกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน |
… รับ รื้อถอนลิฟท์ และบันไดเลื่อน โดยทีมงานมืออาชีพ ควมคุมงานโดยวิศวกรมืออาชีพ มากประสบการณ์
70/22 หมู่5 ซอยหมู่บ้านอยูเจริญ
หมู่ 5 ต.ลาดสวาย อ.ลำลูกกา จ. ปทุมธานี 12150
โทรศัพท์ : 089 443 0218
Email: info@ictechengineer.com